เยียวยาเกษตรกร.com ตรวจสอบสถานะ – จากกรณีรัฐบาลออกมาตรการเยียวยาเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจากโควิด-19 โดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จะจ่ายเงินเยียวยา 5,000 บาทต่อคนเป็นเวลา 3 เดือน เป้าหมาย 10 ล้านคน แบ่งเป็น 3 กลุ่ม และได้เริ่มแจกเงินมาตั้งแต่วันที่ 15 พ.ค. ที่ผ่านมา โดยข้อมูลจากต้นเดือนกรกฎาคมพบว่าที่ผ่านมา ทางธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ได้มีการโอนเงินให้เกษตรกรไปแล้วกว่า 10,730,261 ราย
สำหรับการจ่ายเงินเยียวยาเกษตรกร งวดสุดท้ายเดือนกรกฎาคมนี้
จะเริ่มจ่ายเงินวันที่ 15 ก.ค. 63 ตามกำหนดเดิม และโอนทุกวันไปจนถึงวันที่ 22 ก.ค. 63 วันละ 1 ล้านราย (ยกเว้นวันที่ 22 โอน 5.96 แสนราย) และขอให้เกษตรกร 1.3 แสนกว่ารายที่ยังไม่แจ้งเลขบัญชีรีบแจ้งด่วน
เยียวยาเกษตรกร ตรวจสอบสถานะ – จากกรณีรัฐบาลออกมาตรการเยียวยาเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจากโควิด-19 โดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จะจ่ายเงินเยียวยา 5,000 บาทต่อคนเป็นเวลา 3 เดือน เป้าหมาย 10 ล้านคน แบ่งเป็น 3 กลุ่ม และได้เริ่มแจกเงินมาตั้งแต่วันที่ 15 พ.ค. ที่ผ่านมา โดยข้อมูลจากต้นเดือนกรกฎาคมพบว่าที่ผ่านมา ทางธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ได้มีการโอนเงินให้เกษตรกรไปแล้วกว่า 10,730,261 ราย
เนื้อหมูแพง – จากกระแสข่าวช่วงสองสามวันมานี้ว่าราคาเนื้อหมูแพง โดยเมื่อผู้สื่อข่าวลงพื้นที่ตรวจสอบตามแผงขายเนื้อหมู พบผู้ขายหลายรายพูดเป็นเสียงเดียวกันว่าเนื้อหมูราคาแพงขึ้นจริง ราคาหน้าเขียงพุ่งไปถึง 150-170 บาทต่อกิโลกรัม และถือว่าแพงสุดในรอบ 10 ปี
ขณะที่ทางกระทรวงพาณิชย์ เผยท่าทีต่อกรณีราคาเนื้อหมูแพงขึ้นว่า หากราคาพุ่งต่อเนื่องเกิน 2 สัปดาห์ จะต้องออกมาตรการเพื่อควบคุมราคา เช่น จำกัดการส่งออกไปต่างประเทศ การร่วมมือกับสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติจำกัดราคาหน้าฟาร์ม การจัดงาน ธงฟ้าเพื่อจำหน่ายเนื้อหมูราคาถูก
ธนกร ร่ายยาว 15 ผลงานคลังยุคอุตตม
นายธนกร วังบุญคงชนะ เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เปิดเผยว่า นายอุตตม สาวนายน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ได้จัดทำนโยบายต่างๆ เพื่อช่วยเหลือประชาชนมาแล้วอย่างน้อย 15 โครงการ ประกอบด้วย
1.โครงการเราไม่ทิ้งกัน เพื่อช่วยเหลือ เยียวยา และชดเชยให้แก่ประชาชน ซึ่งได้รับผลกระทบจากการระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของกระทรวงการคลัง (มาตรการเยียวยา 5,000 บาท)
2. โครงการบ้านดีมีดาวน์ เพื่อลดภาระให้แก่ประชาชนเพื่อซื้อที่อยู่อาศัย และเป็นการสนับสนุนให้ประชาชนมีบ้านเป็นของตนเอง และเป็นการช่วยกระตุ้นการลงทุนใหม่ในภาคอสังหาริมทรัพย์ ซึ่งจะส่งผลดีต่อเนื่องไป ยังห่วงโซ่อุปทานของภาคอสังหาริมทรัพย์และเศรษฐกิจไทยในภาพรวม ช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบจาก COVID-19
3.โครงการชิมช้อปใช้ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวในประเทศและการกระตุ้นการบริโภคภายในประเทศให้กับประชาชน โดยการใช้จ่ายผ่านระบบการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์โดยภาครัฐ (g-Wallet)
4.มาตรการต่อเติม เสริมทุน SMEs สร้างไทย เพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการ SMEs ให้สามารถแข่งขันและอยู่รอดได้ท่ามกลางเศรษฐกิจโลกที่มีความไม่แน่นอน
5.โครงการสินเชื่อธุรกิจชุมชนสร้างไทยของ ธ.ก.ส. เพื่อเป็นค่าลงทุนในการดำเนินกิจการและเป็นค่าใช้จ่าย หมุนเวียนในการดำเนินกิจการให้กับกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง สถาบันการเงินประชาชน สถาบันการเงินชุมชน สหกรณ์การเกษตร กลุ่มเกษตรกร วิสาหกิจชุมชน วิสาหกิจเพื่อสังคม
6. พ.ร.ก.ให้อำนาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อแก้ไขปัญหา เยียวยา และฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมที่ได้รับ ผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 พ.ศ. 2563
7.มาตรการ Soft Loan ธนาคารออมสิน เพื่อเป็นเงินทุนสำหรับเสริมสภาพคล่องให้กับผู้ประกอบการ SMEs ที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ให้เข้าถึงสินเชื่อในอัตราดอกเบี้ยต่ำ
8. โครงการค้ำประกันสินเชื่อ PGS 8 ของ บสย. เพื่อช่วยเหลือ SMEs ที่ต้องการสินเชื่อจากสถาบันการเงิน แต่มีหลักประกันไม่เพียงพอให้สามารถเข้าถึงสินเชื่อในระบบได้
9.พ.ร.ก.การให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่ผู้ประกอบวิสาหกิจที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคติด เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 พ.ศ. 2563 หรือ พ.ร.ก. Soft Loan ของ ธปท. เพื่อเป็นการช่วยเหลือผู้ประกอบการ SMEs ที่มีสินเชื่อคงค้างกับสถาบันการเงิน ให้มีสภาพคล่องเพียงพอในการประคับประคองธุรกิจ และรักษาการจ้างงานต่อไปได้ในช่วงที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของ COVID-19
10.พ.ร.ก. การรักษาเสถียรภาพของระบบการเงินและความมั่นคงทางเศรษฐกิจของประเทศ พ.ศ. 2563 หรือ พ.ร.ก. BSF ของ ธปท. เพื่อสนับสนุนให้การระดมทุนโดยการออกตราสารหนี้ ในตลาดแรกให้ทำงาน ได้เป็นปกติ โดยกองทุนจะเข้าไปซื้อตราสารหนี้ เพื่อช่วยเพิ่มสภาพคล่องแก่บริษัทผู้ออกหุ้นกู้ที่ได้รับผลกระทบ จากการระบาดของ COVID-19 ให้สามารถ rollover หุ้นกู้ต่อไปได้
Credit : แนะนำสถานที่ท่องเที่ยว | แต่งบ้านและสวน | พระเครื่อง | รีวิวกล้องถ่ายรูป